ชื่อยาสามัญ : tetanus immunoglobulin (TIG)
ชื่อทางการค้า : TETANUS GAMMA
รูปแบบยา : solutions for injections or infusions
ความแรงของยา : 125 iu/1 ml
Human Tetanus immunoglobulin (TIG)
TIG เป็น specific immune globulin ที่มี tetanus antitoxin ซึ่งเตรียมจากเลือดของคน
ที่จะทำให้เกิดภูมิคุ้มกันต่อโรคบาดทะยัก แบบ passive immunization มีข้อดีคือ half life ยาว (28วัน) และเกิด
hypersensitivity น้อยกว่า equine tetanus antitoxin (TAT)
Administration : IM injection
Dose :
1.Postexposure prophylaxis of tetanus : Adult and Children ≥7years : 250 units single dose, Children
<7years : 4 units/Kg (คำนวณตามน้ำหนัก)
ในรายที่มีปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ และจำเป็นจะต้องได้รับยาในขนาดสูงอาจเพิ่มขนาดยาได้ถึง 500 IU ในกรณีต่อไปนี้
- บาดแผลติดเชื้อและไม่สามารถให้การรักษาได้ภายใน 24 ชั่วโมง
- บาดแผลลึก หรือบาดแผลที่เนื้อเยื่อถูกทำลาย ปริมาณออกซิเจนที่ไปเลี้ยงบาดแผลลดลง
หรือมีสิ่งแปลกปลอมต่างๆอยู่ในบาดแผล เช่น บาดแผลจากสุนัขกัด บาดแผลที่มีเหล็กในจากแมลงกัดต่อย
จากหนามต้นไม้ หรือจากการถูกยิง
2. Treatment of tetanus : 3000 – 6000 units
Adverse effect : ปวดบริเวณที่ฉีดและมีไข้ต่ำๆ , Angioneurotic edema
**สามารถฉีดพร้อมกับ tetanus toxoid (TT) ได้โดยแยกฉีดคนละข้าง
Storage : เก็บในตู้เย็น (อุณหภูมิ 2 ถึง 8 องศาเซลเซียส) และเก็บให้พ้นแสง ห้ามแช่แข็ง
References
1.Lacy CF, Armstrong LL, Goldman MP, Lance LL. Drug Information Handbook with International trade name index.
22th ed. Ohio: Lexi-comp Inc; 2013-2014.
โรงพยาบาลท่าคันโท ที่อยู่ 183 ม.1 ต.นาตาล อ.ท่าคันโท จ.กาฬสินธุ์ โทรศัพท์. (043) 877110 ฝ่ายเภสัชกรรม ต่อ 109
2016-03-23
2016-03-14
Fatal Drug Interaction - รพ.ท่าคันโท
FATAL DRUG INTERACTION คือคู่ยาที่มีรายงานการเกิดอันตรกิริยาระหว่างกันจนเป็นเหตุให้เกิดการเสียชีวิต
เกณฑ์ที่ใช้กำหนดคู่ยาที่เป็น FATAL DI ได้แก่
1.มีรายงานการเสียชีวิตอันเป็นผลจากอันตรกิริยาระหว่างยา
2.มีระดับความมีนัยสำคัญทางคลินิกระดับ I
3.มีความรุนแรงอยู่ในระดับ Major ซึ่งผลที่เกิดขึ้นจะก่อให้เกิดอันตรายถึงชีวิตและเป็นสาเหตุของความเสียหายอย่างถาวร
4.มีระดับความน่าเชื่อถือของข้อมูลอยู่ในระดับน่าเชื่อถือโดยมี Well Crontrolled – Studies (Establised) และน่าจะใช่(Proable)
โดยแบ่ง Fatal DI ดังนี้
1.Contraindication Fatal Drug Interactionคือ คู่ยา Fatal DI ที่มีหลักฐาน ชัดเจนว่าทำให้เกิด ADR ที่รุนแรง อยู่ในระดับ Major ภายในเวลาอันรวดเร็ว (rapid) หลังการได้รับยาร่วมกัน หรือ มีข้อมูลอ้างอิงในหนังสือ Drug Interaction Facts ว่า เป็นคู่ยาที่มีนัยสำคัญทางคลินิกอยู่ในระดับ 1 ที่มีข้อห้ามในการใช้ยาร่วมกัน
2.Mornitoring Fatal Drug Interaction คือ คู่ยา Fatal DI ที่มีหลักฐานชัดเจนว่าทำให้เกิด ADR ที่รุนแรงอย่างมีนัยสำคัญ ทางคลินิกระดับ 1 โดยอาจเกิด ADR ขึ้นอย่างรวดเร็ว (rapid) หรือช้า (delayed) ภายหลังการได้รับยาร่วมกัน แต่ สามารถป้องกันไม่ให้เกิด ADR ได้ถ้ามีการติดตามผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
คู่ยาที่เป็น FATAL DI รพ.ท่าคันโท
เกิดปฏิกิริยาระหว่างยาระดับ 1
เกณฑ์ที่ใช้กำหนดคู่ยาที่เป็น FATAL DI ได้แก่
1.มีรายงานการเสียชีวิตอันเป็นผลจากอันตรกิริยาระหว่างยา
2.มีระดับความมีนัยสำคัญทางคลินิกระดับ I
3.มีความรุนแรงอยู่ในระดับ Major ซึ่งผลที่เกิดขึ้นจะก่อให้เกิดอันตรายถึงชีวิตและเป็นสาเหตุของความเสียหายอย่างถาวร
4.มีระดับความน่าเชื่อถือของข้อมูลอยู่ในระดับน่าเชื่อถือโดยมี Well Crontrolled – Studies (Establised) และน่าจะใช่(Proable)
โดยแบ่ง Fatal DI ดังนี้
1.Contraindication Fatal Drug Interactionคือ คู่ยา Fatal DI ที่มีหลักฐาน ชัดเจนว่าทำให้เกิด ADR ที่รุนแรง อยู่ในระดับ Major ภายในเวลาอันรวดเร็ว (rapid) หลังการได้รับยาร่วมกัน หรือ มีข้อมูลอ้างอิงในหนังสือ Drug Interaction Facts ว่า เป็นคู่ยาที่มีนัยสำคัญทางคลินิกอยู่ในระดับ 1 ที่มีข้อห้ามในการใช้ยาร่วมกัน
2.Mornitoring Fatal Drug Interaction คือ คู่ยา Fatal DI ที่มีหลักฐานชัดเจนว่าทำให้เกิด ADR ที่รุนแรงอย่างมีนัยสำคัญ ทางคลินิกระดับ 1 โดยอาจเกิด ADR ขึ้นอย่างรวดเร็ว (rapid) หรือช้า (delayed) ภายหลังการได้รับยาร่วมกัน แต่ สามารถป้องกันไม่ให้เกิด ADR ได้ถ้ามีการติดตามผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
คู่ยาที่เป็น FATAL DI รพ.ท่าคันโท
เกิดปฏิกิริยาระหว่างยาระดับ 1
ลำดับ | Drug I | Drug II | Effect | Management |
1 | Aminoglycoside (Gentamicin, Streptomycin) |
Furosemide | ผลเพิ่มความเสี่ยงในการเกิด Nephrotoxicity และ Ototoxicity ได้ | ให้ Auto Stop ทันที |
2 | Digoxin | Furosemide Spironolactone |
ยาขับปัสสาวะเพิ่มการขับ K, Mg ทางไต ซึ่งมีผลต่อการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ เพิ่มปัจจัยต่อการเกิด digitalis -induced arrhythmias | เฝ้าระวังภาวะ Electrolyte imbalance |
3 | Efavirenz | Ergotamine | Non-Nucleoside Reverse Transcriptase Inhibitors (NNRTIs) รบกวน hepatic metabolism (CYP3A4) ของ Ergot derivatives ทำให้เสี่ยงต่อการเกิดพิษของ ergot สูงขึ้น เช่น peripheral vasospasm, ischemia of the extremities | ไม่ควรให้ร่วมกัน |
4. | Erythromycin | Simvastatin | Erythromycin ยับยั้งการ Inhibition of metabolism (CYP3A4) ของ Simvastatin ทำให้เกิด Severe myopathy, rhabdomyolysis | ถ้าเป็นไปได้ควรเลือกใช้ Fluvastatin และ Pravastatin แทน เนื่องจากไม่ได้เกิด metabolized ผ่าน CYP3A4 |
5. | Erythromycin | Digoxin | Macrolide antibiotic ยับยั้งการขับออกผ่าน renal tubular P-glycoprotein ของ Digoxin ทำให้ระดับ Digoxin ในเลือดสูงขึ้น จนเกิดพิษได้ โดยอันตรกิริยาที่เกิดขึ้นมีผลคงอยู่นานหลายสัปดาห์เมื่อใช้ร่วมกัน | ติดตามระดับยา Digoxin และอาการของการเกิดพิษ |
6. | Erythromycin Roxithromycin |
Ergotamine | Macrolide antibiotic รบกวน hepatic metabolism ของ Ergotamine ทำให้เกิด Acute ergotism ที่มีอาการ peripheral ischemia ได้ | ติดตามและให้คำแนะนำอาการ ergotism แก่ผู้ป่วย และเตรียมการลดขนาด Ergot Sodium nitroprusside มีประโยชน์ในการลด Macrolide-Ergot-induced vasospasm |
Subscribe to:
Posts (Atom)